แสดงระเบียนรายการแบบย่อ

dc.date.accessioned2021-01-04T10:17:25Z
dc.date.available2021-01-04T10:17:25Z
dc.identifier.citationมหิดลสาร ปีที่ 42 ฉบับที่ 03 31 มีนาคม 2560 หน้า 12
dc.identifier.urihttps://archive.li.mahidol.ac.th/handle/0280026809/6342
dc.descriptionเรื่อง นักวิจัย ม.มหิดล ค้นพบผักบุ้ง 5 ชนิดใหม่ของโลก สามารถศึกษาและพัฒนาต่อยอดเป็นยารักษาโรคได้ - ประเทศไทยเป็นถิ่นกําเนิดของ พืชพรรณนานาชนิด มีความ หลากหลายทางชีวภาพสูงมาก ที่สุด 1 ใน 25 แห่งของโลก การ ค้นพบพืชชนิดใหม่เป็นการยืนยัน ให้เห็นถึงความสําคัญและ ความเร่งด่วนในการอนุรักษ์ป่า ธรรมชาติของประเทศไทยซึ่งเป็น ถิ่นที่อยู่อาศัยที่เปราะบางเป็น อย่างยิ่ง เป็นเรื่องน่ายินดีที่เมื่อ เร็วๆ นี้นักวิจัยมหาวิทยาลัย มหิดลได้สร้างผลงานค้นพบ “ผัก บุ้ง 5 ชนิดใหม่ของโลก” ซึ่ง นอกจากจะเป็นไม้ประดับที่ สวยงามแล้ว ยังพบว่ามีสาร สําคัญที่สามารถศึกษาและ พัฒนาต่อยอดเป็นยารักษาโรค โดยการค้นพบพืชชนิดใหม่นี้ได้ รับการตีพิมพ์ในวารสารชั้น นําทางพฤกษศาสตร์ในต่าง ประเทศพืชวงศ์ผักบุ้ง ๕ ชนิดใหม่ของ โลกที่ถูกค้นพบโดยผศ.ดร. ปวีณา ไตรเพิ่ม อาจารย์ประจํา ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งทํางานวิจัยร่วมกับ Dr.George W.Staples นักพฤกษศาสตร์ชาว อเมริกัน ได้แก่ เครือพูพิสุทธิ์ เครือพูลานสาง เครือพู ดอก หอม เครือพูพวงผกา และ จิงจ้อภาชี โดยพืชทั้ง 5 ชนิดนี้ถูก ตีพิมพ์รับรองในวารสารวิชาการ ชั้นนําทางพฤกษศาสตร์ ได้แก่ Phytotaxa ของประเทศ นิวซีแลนด์ และ Systematic Botanyของประเทศสหรัฐอเมริกา
dc.descriptionอ้างอิง มหิดลสาร ปีที่ 42 ฉบับที่ 03 31 มีนาคม 2560 หน้า 12
dc.format.extent1 หน้า
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isotha
dc.rightsเอกสารฉบับนี้ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของผลงาน
dc.subject.otherเหตุการณ์สำคัญ
dc.titleนักวิจัย ม.มหิดล ค้นพบผักบุ้ง 5 ชนิดใหม่ของโลก สามารถศึกษาและพัฒนาต่อยอดเป็นยารักษาโรคได้
dc.typetext
mods.genreบทความทั่วไป
ead.physdescสมบูรณ์
ead.processinfo.date2020-12-16
ead.processinfoนางสาวนวลปรางค์ ศรัทธาบุญ ตำแหน่ง นักเอกสารสนเทศ
ead.recordidMH04-480


แฟ้มในรายการข้อมูลนี้

Thumbnail

รายการข้อมูลนี้ปรากฎอยู่ในกลุ่มข้อมูลดังนี้

แสดงระเบียนรายการแบบย่อ

แผนที่การเดินทาง