dc.date.accessioned | 2021-01-04T10:17:23Z | |
dc.date.available | 2021-01-04T10:17:23Z | |
dc.identifier.citation | มหิดลสาร ปีที่ 41 ฉบับที่ 5 31 พฤษภาคม 2559 หน้า 11 | |
dc.identifier.uri | https://archive.li.mahidol.ac.th/handle/0280026809/6276 | |
dc.description | เรื่อง อ.มหิดลกาญจน์ คิดค้นชุดตรวจหาเชื้อโรคพยาธิใบไม้ในตับ ของสัตว์ได้รวดเร็วและแม่นยําที่สุดในประเทศไทย - รศ.ดร.น.สพ.ปณัฐ อนุรักษ์ปรีดา อาจารย์ประจําสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ การเกษตร มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขต กาญจนบุรี พัฒนาคิดค้น “ชุดตรวจหาเชื้อ โรคพยาธิใบไม้ในตับของสัตว์” ได้รวดเร็ว และแม่นยําแห่งแรกของประเทศไทย สามารถตรวจหาเชื้อจากโคกระบือที่ติดโรค ทราบผลภายใน 4 ชั่วโมง รศ.ดร.ปณัฐ กล่าว ว่า “วิธีการตรวจหาเชื้อในปัจจุบันนั้น ใช้วิธี การตรวจหาไข่พยาธิที่ปนมากับอุจจาระโค และกระบือ การตรวจโดยใช้วิธีนี้มีข้อจํากัด อยู่มาก มีขั้นตอนยุ่งยาก และที่สําคัญใช้เวลา นาน ผลที่ได้ก็ยังไม่มีความแม่นยํา เพราะเมื่อ สัตว์ติดพยาธิใบไม้ในตับไปแล้ว จะปล่อยไข่ ออกมากับอุจจาระในระยะเวลา 13 สัปดาห์ ทําให้บางทีการรักษาจะล่าช้า ทําให้สัตว์ตาย ในที่สุด โดยโรคพยาธิใบไม้ในตับของสัตว์ สามารถติดต่อจากสัตว์สู่คนได้ สัตว์ที่มีเชื้อ พยาธิใบไม้ในตับเมื่ออุจจาระออกมา ตัว อ่อนของพยาธิจะไชเข้าไปสู่หอยที่อยู่ตาม ธรรมชาติและมีการเจริญเติบโตในตัวหอย เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะออกจากหอย ว่ายไปตามบึงน้ําและเกาะอยู่ตามพืชน้ําชนิด ต่างๆ เช่น ผักบุ้ง เมื่อคนนํามารับประทานก็ จะได้รับเชื้อพยาธิใบไม้ในตับเข้าไปสู่ร่างกาย คนได้” | |
dc.description | อ้างอิง มหิดลสาร ปีที่ 41 ฉบับที่ 5 31 พฤษภาคม 2559 หน้า 11 | |
dc.format.extent | 1 หน้า | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | tha | |
dc.rights | เอกสารฉบับนี้ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของผลงาน | |
dc.subject.other | เหตุการณ์สำคัญ | |
dc.title | อ.มหิดลกาญจน์ คิดค้นชุดตรวจหาเชื้อโรคพยาธิใบไม้ในตับ ของสัตว์ได้รวดเร็วและแม่นยําที่สุดในประเทศไทย | |
dc.type | text | |
mods.genre | บทความทั่วไป | |
ead.physdesc | สมบูรณ์ | |
ead.processinfo.date | 2020-12-4 | |
ead.processinfo | นางสาวนวลปรางค์ ศรัทธาบุญ ตำแหน่ง นักเอกสารสนเทศ | |
ead.recordid | MH04-414 | |