Browsing 4 ภาพถ่าย by Title
Now showing items 429-448 of 2065
Now showing items 429-448 of 2065
จักก้า
อุกฤษฎ์ นฤมิตบวรกุล
ภาพจากโครงการประกวดภาพถ่าย “รัก ณ มหิดล” ชื่อภาพ “จักก้า” ถ่ายโดย นายอุกฤษฎ์ นฤมิตบวรกุล คำอธิบายภาพ : คนในรู้จักดี คนนอกนี่อย่าง งง วิถีของชาวมหิดล
|
จักก้า
วริศ ปัญญาฉัตรพร
ภาพจากโครงการประกวดภาพถ่าย “รัก ณ มหิดล” ชื่อภาพ “จักก้า” ถ่ายโดย นายวริศ ปัญญาฉัตรพร
|
จั๊กก้า
พัชรศิษฏ์ ปีเจริญ
ภาพจากโครงการประกวดภาพถ่าย “รัก ณ มหิดล” ชื่อภาพ “จั๊กก้า” ถ่ายโดย นายพัชรศิษฏ์ ปีเจริญ คำอธิบายภาพ : เส้นทางสัญจร จั๊กก้า แม้นลำบาก มืดมน ยังพบแสงนำทาง
|
จั๊กก้า
พัชรศิษฏ์ ปีเจริญ
ภาพจากโครงการประกวดภาพถ่าย “รัก ณ มหิดล” ชื่อภาพ “จั๊กก้า” ถ่ายโดย นายพัชรศิษฏ์ ปีเจริญ คำอธิบายภาพ : เส้นทางสัญจร จั๊กก้า แม้นลำบาก มืดมน ยังพบแสงนำทาง
|
จักก้า The Jakka
ขจรยศ อนุรักษ์ธรรม
ภาพจากโครงการประกวดภาพเก่าเล่าเรื่อง MU Story จัดโดยฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
ประเภท ภาพน่าจดจำ
ชื่อภาพ : จักก้า The Jakka
ถ่ายโดย นายขจรยศ อนุรักษ์ธรรม
คำบรรยายภาพ : "จักก้า" เป็นคำฮิตติดหูสำหรับชาวมหิดล และด้วยสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย ที่เอื้อต่อการปั่นจักก้า อีกทั้งโครงการจักก้าสีขาวที่มี จึงทำให้การปั่นจักก้าเป็นสิ่งที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการปั่นไปเรียน ปั่นเล่นกับเพื่อน ออกกำลังกาย
จนสามารถพูดได้ว่า จักก้า เป็นส่วนหนึ่งของพวกเราชาวมหิดลจริงๆ
|
จักก้าที่เราปั่น
สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล; ณิชกานต์ พรึงลำภู
ภาพจากกิจกรรมประกวดภาพถ่าย “ความทรงจำ ณ ศาลายา” ในโครงการอำลาศาลายา รุ่นที่ 35 โดย สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล ชื่อภาพ “จักก้าที่เราปั่น” ถ่ายโดย นางสาวณิชกานต์ พรึงลำภู คำอธิบายภาพ : ถัดจากรถแทม ก็ต้องจักก้า จะไปไหนก็จักก้า ♡
|
จักก้านี้ วิถีแห่งศาลายา
สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล; ฉัตริน เลิศประเสริฐพงศ์ (2563)
ภาพจากกิจกรรมประกวดภาพถ่าย "รูปนี้ที่ศาลายา" ในโครงการอำลาศาลายา รุ่นที่ 33 โดย สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล ชื่อภาพ "จักก้านี้ วิถีแห่งศาลายา" ถ่ายโดย นายฉัตริน เลิศประเสริฐพงศ์ คำอธิบายภาพ : เป็นภาพที่แสดงถึง จักรยาน หรือที่ชาวมหิดลเรียกกันติดปากว่า "จักก้า" พาหนะหลักในการเดินทางภายในมหาวิทยาลัยอันกว้างใหญ่แห่งนี้ จอดเรียงรายกันใต้อาคาร SC3 โดยเน้นความคมชัดที่วัตถุใกล้ ทำให้เกิดโบเก้กลมจากแสงอาทิตย์ลอดผ่านต้นไม้ที่อยู่ไกลออกไป สร้างความน่าสนใจให้แก่ภาพมากขึ้น
|
จักก้าฟ้าประทาน
สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล; พรฤดี จิตร์บำรุง (2563)
ภาพจากกิจกรรมประกวดภาพถ่าย “รูปนี้ที่ศาลายา” ในโครงการอำลาศาลายา รุ่นที่ 34 โดย สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล ชื่อภาพ “ จักก้าฟ้าประทาน” ถ่ายโดย นางสาวพรฤดี จิตร์บำรุง คำอธิบายภาพ : "เบาะหลังว่างหรือเปล่า เราอยากซ้อนจักรยานเธอ พาเราไปที่ไหนก็ได้ ขอแค่มีเธออยู่ข้างๆ ก็พอ"
|
จักก้ามหาชน
ทรงศักดิ์ สมเนตร
ภาพจากโครงการประกวดภาพถ่าย “รัก ณ มหิดล” ชื่อภาพ “จักก้ามหาชน” ถ่ายโดย นายทรงศักดิ์ สมเนตร คำอธิบายภาพ : การสัญจรในมหาวิทยาลัยมหิดลของนักศึกษา มักจะใช้จักรยานในการเดินทางไปเรียน ซึ่งทุกคนมักเรียกสั้น ๆ ว่า "จักก้า" และทางมหาวิทยาลัยมีให้ยืมใช้ได้
|
จักก้าสีขาว
อุเทน นาคง
ภาพจากโครงการประกวดภาพถ่าย “รัก ณ มหิดล” ชื่อภาพ “จักกาสีขาว” ถ่ายโดย 46 นายอุเทน นาคง คำอธิบายภาพ : เป็นตัวแทนการลดมลพิษของมหิดล
|
จักก้าสื่อรัก
อนิรุทธ์ มีใหม่
ภาพจากโครงการประกวดภาพถ่าย “รัก ณ มหิดล” ชื่อภาพ “จักก้าสื่อรัก” ถ่ายโดย นายชนาธิป ศิริวิริยพูน คำอธิบายภาพ : การปั่นจักรยาน กิจกรรมที่สร้างรอยยิ้ม มิตรภาพและและความรัก ให้เกิดขึ้นในรั้วมหิดล
|
จักรยาน ณ สิทธาคาร
สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล; จิรภัทร โชคสุชาติ (2563)
ภาพจากกิจกรรมประกวดภาพถ่าย “รูปนี้ที่ศาลายา” ในโครงการอำลาศาลายา รุ่นที่ 34 โดย สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล ถ่ายโดย นายจิรภัทร โชคสุชาติ
|
จักรยานกับมหิดล (Bicycle with Mahidol.)
นลินทิพย์ ธงชัย
ภาพจากโครการประกวดภาพถ่าย "DCU ปัญญาสู่แผ่นดิน" (Digital Convergence
University to Wisdom of the Land) จัดโดยฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ หอสมุดและคลัง
ความรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล ชื่อภาพ: จักรยานกับมหิดล (Bicycle with Mahidol.)
ถ่ายโดย นางสาวนลินทิพย์ ธงชัย คำอธิบายภาพ: จักรยานถือเป็นเทคโนโลยีอย่างหนึ่งที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้คน และไม่ปล่อยมลพิษออกมาทำลายสิ่งแวดล้อม อีกทั้งการเดินทางในมหิดลส่วนมากจะใช้จักรยาน
Description: Bicycles are considered a technology that has been invented to facilitate people. And do not chimney pollution to destroy the environment In addition, traveling in Mahidol will
mostly use bicycles.
|
จักรยานคู่ใจ
นายศิริพงศา โจโฉ
โครงการประกวดภาพชุดศาลายาวิถี Salaya Life ประเภทนักศึกษา จัดโดยงานพิพิธภัณฑ์และนิทรรศการ ฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
ชื่อชุดผลงาน : การเดินทาง
ชื่อภาพ : จักรยานคู่ใจ
ถ่ายโดย นายศิริพงศา โจโฉ
|
จักรยานในตลาดเก่า
นราวุฒิ สุวรรณัง
โครงการประกวดภาพชุดศาลายาวิถี Salaya Life ประเภทบุคคลทั่วไป จัดโดยงานพิพิธภัณฑ์และนิทรรศการ ฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
ชื่อชุดผลงาน : ตลาดท่านา ตลาดเก่า 140 ปี
ชื่อภาพ : จักรยานในตลาดเก่า
ถ่ายโดย นายนราวุฒิ สุวรรณัง
|
จักรวาลแห่งการเรียนรู้ (MU (Metaverse University))
กมลชนก ศรียศ
ภาพจากโครการประกวดภาพถ่าย "DCU ปัญญาสู่แผ่นดิน" (Digital Convergence
University to Wisdom of the Land) จัดโดยฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ หอสมุดและคลัง
ความรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล ชื่อภาพ: จักรวาลแห่งการเรียนรู้ (MU (Metaverse University))
ถ่ายโดย นางสาวกมลชนก ศรียศ คำอธิบายภาพ: จักรวาลแห่งการเรียนรู้รูปแบบใหม่ที่
เชื่อมต่อเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้ทุกจินตนาการเป็นไปได้
|
จังหวะ-สี-เส้น
อัครินทร์ อัศวารินทร์
ภาพจากโครงการประกวดภาพถ่าย “รัก ณ มหิดล” ชื่อภาพ “จังหวะ-สี-เส้น” ถ่ายโดย นายอัครินทร์ อัศวารินทร์
|
จัดเต็ม
ธนวัฒน์ เอกทศวรรณ
ภาพจากโครงการประกวดภาพถ่าย “รัก ณ มหิดล” ชื่อภาพ “จัดเต็ม” ถ่ายโดย นายธนวัฒน์ เอกทศวรรณ คำอธิบายภาพ : ภาพบรรยากาศคอนเสิร์ตงาน MU Night ความมันส์ ความสนุกสนาน อยู่ ณ เวลานี้แล้ว
|
จัดระเบียบ
ทิพวัลย์ รุ่งเรือง
โครงการประกวดภาพชุดศาลายาวิถี Salaya Life ประเภทนักศึกษา ประเภทนักศึกษา จัดโดยงานพิพิธภัณฑ์และนิทรรศการ ฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
ชื่อชุดผลงาน : ตลาดเหลือง ศาลายา (Yellow Market at Salaya)
ชื่อภาพ : จัดระเบียบ
ถ่ายโดย นางสาวทิพวัลย์ รุ่งเรือง
|
จับเข่าคุยกับชาวบ้านในงานวิจัยแม่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สุทธิรัตน์ สวัสดิภาพ
ภาพจากโครงการประกวดภาพเก่าเล่าเรื่อง MU Story จัดโดยฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
ประเภท ภาพน่าจดจำ
ชื่อภาพ : จับเข่าคุยกับชาวบ้านในงานวิจัยแม่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ถ่ายโดย นางสาวสุทธิรัตน์ สวัสดิภาพ
คำอธิบายภาพ : เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2557 ทีมงานวิจัย ภายใต้การนำของ ผศ.ดร.สิทธิพงษ์ ดิลกวณิช ลงพื้นที่ อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง เพื่อเยี่ยมเยียน คุณแม่แช่ม ฮั้นแฮ็ก แม่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมปี 2554 ในงานวิจัยแม่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ของคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ ม.มหิดล
|
Museums and Exhibitions Division, Mahidol University Library and Knowledge Center 3rd Floor, Room 301 Mahidol University Archives and Museums Mahidol Learning Center Building, Mahidol University, Salaya, Phutthamonthon, |
|
0-2849-4541-2 | |
0-2849-4545 | |
muarms@mahidol.ac.th | |
https://museum.li.mahidol.ac.th | |
https://www.facebook.com/MUARMS/ |